คว้าโอกาสจาก Generative AI ในสมรภูมิธุรกิจอย่างไร ไม่ให้ไม่เจ็บตัว

บริษัทต้องคิดและวางแผนอย่างไรเพื่อเปลี่ยน Generative AI จากภัยคุกคามให้กลายเป็นโอกาส ภาคธุรกิจจะจะใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนี้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้อย่างไร ค้นหาคำตอบได้ที่บทความนี้

เผยเบื้องหลัง “Medical AI Data Platform” บิ๊กเดต้าผนวกเครื่องมือเทรนด์โมเดล หนุนสร้าง AI ช่วยวินิจฉัยลดภาระแพทย์โดยเฉพาะ

แผนปฏิบัติการด้าน AI ประเทศไทย พยายามจะเติมเต็มระบบนิเวศ AI การแพทย์ของไทย โดยมีหนึ่งในโครงการนำร่อง คือ “การพัฒนาแพลตฟอร์มบริหารจัดการข้อมูลเปิดด้านการแพทย์ – Medical AI Data Platform”

เปิด 6 โปรเจกต์ดันแผน AI ประเทศไทย ! 2 กระทรวงใหญ่ อว. และ ดีอี นั่งหัวโต๊ะระดมความเห็นทิศทางการพัฒนา AI ให้ครอบคลุมทุกมิติ

หารือ (ร่าง) โครงการนำร่องภายใต้การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2567 – 2570)

ทีม AI Thailand โชว์ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน AI ประเทศไทย ในการพบกันครั้งแรกของเครือข่ายความร่วมมือด้าน Trustworthy AI ระดับนานาชาติ หรือ TRAIN (Trustworthy AI International Network)

TRAIN (Trustworthy AI International Network) เครือข่ายความร่วมมือด้าน Trustworthy AI ระดับนานาชาติ \มีเป้าหมายในการสร้างความเชื่อมั่นและเสริมสร้างความน่าเชื่อถือของ AI โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย มุ่งเน้นการแบ่งปันข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ และร่วมกันพัฒนาบุคลากรด้าน AI

[สรุป] 7 ประเด็นสำคัญจาก “ดัชนีชี้วัดผู้นำการพัฒนา AI โลก” Top Ranked AI Nations (TRAIN) สหรัฐฯ ครองอันดับ 1 – ไทยอันดับ 24 ปี 2023

ดัชนีชี้วัดผู้นำการพัฒนา AI ของโลก (Top Ranked AI Nations; TRAIN) ปี 2023 เผยให้เห็นถึงการแย่งชิงความเป็นผู้นำด้าน AI ของโลก

AI คาดการณ์ความเสี่ยง “มะเร็งตับอ่อน” ล่วงหน้า 6-18 เดือน

MIT ร่วมกับศูนย์รังสีรักษาโรคมะเร็ง Beth Israel Deaconess Medical Center ในเมืองบอสตัน พัฒนาระบบ “PRISM” โมเดล AI ที่คาดการณ์โอกาสของผู้ป่วยในการเป็นมะเร็งตับอ่อนชนิด pancreatic ductal adenocarcinoma (PDAC) ​ซึ่งเป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด

สรุป 10 ประเด็น AI กับโลกการทำงานในอนาคต จากรายงาน “Gen-AI: Artificial Intelligence and the Future of Work” โดย IMF

สรุป 10 ประเด็นผลกระทบของ AI กับโลกการทำงานในอนาคตจากรายงาน “Gen-AI: Artificial Intelligence and the Future of Work” โดย IMF การประยุกต์ใช้ AI ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในตลาดแรงงานทั่วโลก และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละประเทศ ทั้งด้านดีที่ช่วยเพิ่ม productivity แต่ในทางกลับกันอาจทำให้บางตำแหน่งงานถูกแทนที่ด้วย AI  AI ส่งผลต่อตำแหน่งงานทั่วโลกอย่างมาก โดยประเทศพัฒนาแล้วมักได้รับผลกระทบทั้งด้านบวกและลบมากกว่าประเทศตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งทำให้ช่องว่างทางสัมคมและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ระหว่างประเทศยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ผู้หญิงและบุคลากรที่มีการศึกษาสูง เป็นกลุ่มที่ต้องเผชิญกับ AI มากขึ้นจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับประโยชน์จาก AI มากขึ้นตามไปด้วย บุคลากรที่มีอายุอาจต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีนี้ ในขณะที่คนรุ่นใหม่จะสามารถปรับตัวเข้าสู่โลกการทำงานร่วมกับ AI ได้ดีกว่า นอกจาก AI จะทำให้รายได้เฉลี่ยของแรงงานส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นแล้วยังเปลี่ยนโฉมหน้าของการกระจายความมั่งคั่งและรายได้อีกด้วย โดยสัดส่วนของทุนต่อแรงงานและประสิทธิภาพการทำงานที่มากขึ้นจาก AI มีศักยภาพในการยกระดับค่าจ้างให้กับแรงงานหลากหลายระดับ และมีแนวโน้มมากขึ้นหาก AI สามารถเสริมทักษะแรงงานได้ในหลายบทบาท และเพิ่ม productivity ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การพัฒนาของ AI จะกระตุ้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจและความต้องการแรงงานใหม่ ๆ ซึ่งอาจช่วยชดเชยผลกระทบจากการถูกแทนที่ด้วย AI … Read more